An Introduction to Sensorial Education

Our senses connect us to our environment, to the world and to each other. Our senses are tools for keep us safe and provide us with numerous forms of information. Maria Montessori, in her pioneering fashion, was perhaps one of the first educationalists to develop a curriculum solely for their refinement. “The senses, being explorers of the world, open the way to knowledge” ....... “the child who has worked with our sensorial apparatus has not only acquired greater skill with his hands but has also achieved a higher degree of perceptiveness towards those stimuli which come to him from the outside world” (Maria Montessori, The Absorbent Mind, p166 and 167).

Left untrained and dull the senses do little to draw our attention to our environment. The refinement of the senses are included as one of Montessori’s six sensitive periods, their development playing an imperative role in her formative theories of the young child (0-6).  The sensitive periods are times when a child experiences enhanced or heightened levels of awareness that innately attract them towards certain elements present in their immediate environment. The sensitive period for the refinement of the senses, second only to language in duration, begins at birth and lasts until the child is approximately five years of age. 

Engaging the child’s emergent intellect with reason and movement, (another sensitive period) the sensorial materials nurture the child’s capacity to concentration, to make judgements and to work purposefully. Maria Montessori believed that working with the graded sensorial materials facilitated the establishment of order (another sensitive period) in a child’s developing Mind “ a classification of the quantities of things, and from this the child derives one of the most effective helps to the ordering of his mind” (Maria Montessori, The Absorbent Mind, p168).

As a platform for the child’s future growth Montessori considered the education of the senses, second to none. “ It is therefore a child’s physiological development that directly prepares the way for his psychic development by perfecting his sense organs and his habits of projection and association”  (Maria Montessori, The Discovery of the Child, p145). As well as address their intrinsic developmental needs of language, the refinement of their senses, movement, attention to detail, and order the sensorial materials are aesthetically pleasing for the children to work with. The objectives of the sensorial materials are purely sensorial, in that they should provide a direct, concrete, classified and stimulating experience of the environment, through all the sense avenues.

The early Montessori sensorial materials, knobbed cylinders, pink tower, broadstairs and touch and colour tablets are introduced around the age of two and a half to three, focusing mainly on the senses of visual and tactile discrimination. Thereafter an array of sensorial materials are introduced to challenge and refine all of the child’s senses.

 

 วัตถุประสงค์ และหลักการในการสอน

                1. อุปกรณ์เกี่ยวกับการสัมผัส เป็นสื่อที่ทำให้เด็กได้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับประสาทสัมผัสที่ได้รับการออกแบบเพื่อพัฒนาประสาทสัมผัสทั้ง 5 ด้าน และเพื่อให้เด็กได้รับรู้สิ่งต่างๆผ่านประสบการณ์และการทำกิจกรรม
                2. เด็กจะต้องเริ่มจากการทำกิจกรรมขั้นแรกให้สำเร็จก่อน แล้วจึงค่อยๆทำกิจกรรมที่ยากขึ้นตามลำดับ
                3. อุปกรณ์ชุดหนึ่งๆควรมีจุดประสงค์ในการพัฒนาประสาทสัมผัสด้านใดด้านหนึ่งเท่านั้น เพื่อความชัดเจน และเน้นในแต่ละด้าน
                4. หากเป็นไปได้ วัสดุอุปกรณ์ควรมีลักษณะที่มีกลไกควบคุมความผิดพลาดในตัว เพื่อให้เด็กได้สามารถแก้ไขข้อผิดพลาดนั้นได้ด้วยตนเอง และเพื่อเป็นการส่งเสริมการเรียนรู้ด้วยตนเอง ซึ่งเป็นวิธีที่ได้ผลกว่าการที่มีผู้อื่นเป็นผู้สอน
                5. บทบาทของครูจะขึ้นอยู่กับรูปแบบและและวิธีการนำเสนอของอุปกรณ์นั้นๆ ครูควรแนะนำอุปกรณ์เหล่านั้นให้เด็กก่อนแล้วค่อยๆถอนตัวออกมา เพื่อปล่อยให้เด็กเรียนรู้กับอุปกรณ์ด้วยตนเอง นั่นหมายถึงให้ครูมีบทบาทให้น้อยที่สุด และให้เด็กมีบทบาทมากที่สุด
                6. หากเป็นไปได้ ควรทำกิจกรรมกับเด็กเป็นรายบุคคล เนื่องจากเด็กแต่ละคนมีระดับพัฒนาการที่แตกต่างกัน
                7. ชุดอุปกรณ์และกิจกรรมได้รับการออกแบบมาเพื่อให้เด็กสามารถทำงานได้อย่างเป็นขั้นเป็นตอน
                8. รูปแบบของอุปกรณ์และวิธีการใช้ที่ได้รับการออกแบบมาอย่างมีจุดประสงค์ ทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่จะช่วยส่งเสริมให้เกิดกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ
                9. การกำหนดรูปแบบอุปกรณ์และวิธีการนำเสนออุปกรณ์ดังกล่าวจะส่งเสริมให้เด็กเป็นคนมีระเบียบวินัย โดยเด็กจะได้รับการแนะนำอุปกรณ์ดังกล่าวอย่างเหมาะสมกับระดับพัฒนาการของตน ซึ่งทำให้เด็กสามารถทำกิจกรรมจนครบวงจรตามที่ได้รับการแนะนำจนจบขั้นตอนได้ด้วยตัวเอง และเมื่อทำสำเร็จเด็กจะเกิดความพึงพอใจ ซึ่งเป็นเสมือนรางวัลสำหรับเด็ก ทำให้เด็กเกิดความต้องการทำกิจกรรมนั้นๆ อีกครั้ง และหากเป็นดังนี้แล้ว เด็กก็จะเกิดระเบียบวินัยในตนเองในอันที่จะทำกิจกรรมต่างๆ ให้สำเร็จ
                10. อุปกรณ์บางชนิด ช่วยพัฒนาการทำงานประสานสัมพันธ์ของกล้ามเนื้อ และบางชนิดก็ช่วยเตรียมความพร้อมของกล้ามเนื้อสำหรับกิจกรรมขั้นอื่นๆต่อไปในอนาคต
                11. เด็กจะได้รับการสอนคำศัพท์เฉพาะทางใหม่ๆ จากทุกๆกิจกรรมใหม่ๆ ที่ได้รับพร้อมกับทักษะด้านต่างๆซึ่งทำให้เด็กมีพัฒนาการด้านศัพท์มากยิ่งขึ้น
                12. อุปกรณ์หลายชิ้น จะทำให้เด็กได้รับประสบการณ์ความรู้ในด้านคณิตศาสตร์ การอ่าน วิทยาศาสตร์ และดนตรี ทั้งในทางตรงและทางอ้อม

อุปกรณ์ที่ใช้ทำกิจกรรมเกี่ยวกับด้านสัมผัส

  • ทรงกระบอกมีจุก
  • หอคอยสีชมพู
  • บันไดสีน้ำตาล
  • แขนงไม้สีแดง
  • ทรงกระบอกไร้จุก
  • กล่องสีที่ 1
  • กล่องสีที่ 2
  • กล่องสีที่ 3
  • ถาดแนะนำรูปทรง
  • ลิ้นชักรูปทรง
  • สามเหลี่ยมรูปทรง
  • กล่องลูกบาศก์ไบนอเมียว
  • กล่องลูกบาศก์ไตรนอเมียว
  • แท่งรูปทรงเรขาคณิตทึบ
  • การใช้ผ้าปิดตา
  • แผ่นสัมผัสหยาบและเรียบ
  • จับคู่แผ่นสัมผัส
  • แผ่นสัมผัสอุณหภูมิ
  • แผ่นผ้าสัมผัส
  • กิจกรรมแยกประสาทสัมผัส
  • แผ่นไม้ประมาณน้ำหนัก
  • กล่องเสียง
  • ขวดสำรวจกลิ่น
  • ขวดสำรวจรสชาติ